สล็อตแตกง่ายนายก ขอความร่วมมือ ปชช. แจ้งเบาะแส ลักลอบแรงงาน

สล็อตแตกง่ายนายก ขอความร่วมมือ ปชช. แจ้งเบาะแส ลักลอบแรงงาน

นายก รัฐมนตรีขอความร่วมมือ ปชช. แจ้งเบาะแสกระบวนการ สล็อตแตกง่ายลักลอบแรงงาน ส่งตรงมายังสำนักนายกรัฐมนตรี ขณะที่ การประชุม ศบค. เตรียมหารือมาตรการต่าง ๆ พรุ่งนี้ วันนี้ (23 ธ.ค. 63) เวลา 10.40 น. ณ บริเวณทางเชื่อมตึกไทยคู่ฟ้า ทำเนียบรัฐบาล กรุงเทพฯ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้สัมภาษณ์ถึงสถานการณ์โควิด -19 ก็ได้รับรายงานสถิติสถานการณ์ของผู้ติดเชื้อใหม่รายวันก็เริ่มจะลดลง เนื่องจากได้มีการตรวจสอบและควบคุมพื้นที่มากขึ้น

นายก รัฐมนตรียอมรับ จากการวิเคราะห์สาเหตุต้นทางมาจากแรงงานต่างด้าว 

ซึ่งมีทั้งที่เข้ามาอย่างถูกกฎหมายที่อาศัยในประเทศไทยมานาน ซึ่งกลุ่มนี้ไม่มีปัญหา เว้นแต่ผู้ที่ลักลอบเข้ามาอย่างผิดกฎหมาย มีการหลบเลี่ยง เป็นแรงงานที่ไมได้ขึ้นทะเบียน ซึ่งขณะนี้ได้สั่งทุกหน่วยงาน ตรวจสอบกระบวนการลักลอบนำเข้าแรงงานอย่างผิดกฎหมาย ซึ่งบางโรงงานใช้แรงงานที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย นำแรงงานไปปล่อยในพื้นที่อื่น รวมทั้งมีการจ้างงานโดยไม่จ่ายค่าแรงตามกฎหมาย

เมื่อเช้าได้สั่งการไปยัง ศบค. เร่งหามาตรการดำเนิน เพื่อเร่งแก้ปัญหานี้ด้วย รวมทั้งให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปพิจารณาแนวทางที่เหมาะสมสำหรับการขึ้นทะเบียนแรงงาน ซึ่งก่อนหน้านี้ วิธีการที่ดำเนินการอยู่ ขึ้นทะเบียนชั่วคราวบัตรสีชมพูว่า หากมีการดำเนินการอย่างเข้มข้นจะมีการนำแรงงานเหล่านี้ไปปล่อยที่อื่น

ทั้งนี้ ในที่ประชุม ศบค. วันพรุ่งนี้ จะมีการวิเคราะห์จุดไหนที่มีการแพร่ระบาดมาก น้อยเพียงใดในทุกพื้นที่ ทุกจังหวัดจะระบุเป็นสีต่างๆ อาทิ สีเขียว สีส้ม สีแดง และจะมีการกำหนดมาตรการเฉพาะลงไปว่าจะทำอย่างไรได้บ้าง รวมทั้งจะได้ข้อยุติเกี่ยวกับมาตรการต่างๆ

นายก รัฐมนตรีย้ำสิ่งสำคัญที่สุดขณะนี้ คือความร่วมมือของพวกเราทุกคน ยังขอความร่วมมือประชาชน (ปชช.) ในพื้นที่ แจ้งเบาะแสกับเจ้าหน้าที่ถึงกระบวนการ ลักลอบแรงงาน ต่างด้าวที่เดินทางเข้ามายังประเทศไทย ซึ่งคนพื้นที่จะรู้มากที่สุด และสามารถส่งข้อมูลการทำผิดกฎหมาย การทุจริตของเจ้าหน้าที่ต่างๆ ตรงมาที่สำนักนายกรัฐมนตรี

พร้อมฝากถึงสื่อขอให้เสนอเนื้อหาข้อมูล และให้ประชาชนรับฟังข่าวสารจากการแถลงข่าวของที่ประชุม ศบค. โดยอย่านำข้อมูลจากบุคคลอื่นที่เป็นข้อมูลบิดเบือนความจริง ข้อมูลที่พิสูจน์ไม่ได้ เผยแพร่ เพราะจะทำให้เกิดความตื่นตระหนก และสร้างการรับรู้ต่างประเทศรับรู้อย่างผิดๆ กระทบต่อความเชื่อมั่นระบบสาธารณสุขไทย

นายกรัฐมนตรียืนยันวันนี้เรารู้ที่มาของการแพร่ระบาดและมีมาตรการเฉพาะต่าง ๆ และมาตรการทางสาธารณสุขยังสามารถรับมือได้ทั้งหมด ทั้งนี้ มั่นใจว่าประเทศไทยทำได้ดีกว่าประเทศอื่นหลายประเทศด้วยกัน

DES สรุปสถิติ ข่าวปลอม เว็บ-สื่อโซเชียล ผิดกฎหมาย ในรอบปี 63

“พุทธิพงษ์” สรุปตัวเลขข่าวปลอมส่งท้ายปี 63 พบจำนวนข่าวที่ต้องคัดกรองกว่า 39 ล้านข้อความ และเข้าเกณฑ์ตรวจสอบ 7,420 เรื่อง ขณะที่เพจอาสาจับตาออนไลน์ ได้ใจประชาชนมีจำนวนแจ้งเบาะแสเฉลี่ยวันละ 280 เรื่อง โดย 3 อันดับแรกที่มีการแจ้งเข้ามามากที่สุด ได้แก่ ความมั่นคง, ความมั่นคง/การเมือง และพนันออนไลน์ โชว์ผลงานไตรมาส 4 ปิดเว็บพนันแล้ว 299 ยูอาร์แอล เงินหมุนเวียนกว่า 35,000 ล้านบาท ประกาศชวน 4 หน่วยงานในสังกัดเตรียมมอบบริการฟรี และส่วนลดค่าบริการเป็นของขวัญปี 64 สำหรับประชาชน

นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (DES) กล่าวแถลงผลการดำเนินงานของกระทรวงฯ ในการปราบปราม ข่าวปลอม และ เว็บ – สื่อโซเชียล ผิดกฎหมาย วันนี้ (22 ธ.ค.63) ว่า ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย ได้รวบรวมข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 พ.ย.62 – 18 ธ.ค. 63 พบว่า

โดยช่องทางที่มีการพบเบาะแสมากที่สุดอันดับ 1 คือ ระบบดักจับการสนทนาบนโลกออนไลน์ (Social Listening Tools) พบจำนวน 38,956,319 ข้อความ คิดเป็นสัดส่วนถึง 99.35% รองลงมาคือ บัญชีไลน์ทางการ เฟซบุ๊กเพจ และเว็บไซต์ทางการของศูนย์ฯ ตามลำดับ

ทั้งนี้ เมื่อแยกประเภทข่าวที่ต้องตรวจสอบ 7,420 เรื่อง นั้น

มากกว่าครึ่ง หรือ 56% เป็นข่าวในหมวดสุขภาพ มีจำนวน 4,190 เรื่อง 

หมวดนโยบายรัฐ 2,809 เรื่อง คิดเป็น 38%

หมวดเศรษฐกิจ 266 เรื่อง คิดเป็น 4% 

หมวดภัยพิบัติ 155 เรื่อง หรือประมาณ 2%

ขณะที่ สัดส่วนข่าวปลอม ข่าวจริง และข่าวบิดเบือนในรอบปี 63 อยู่ที่อัตรา 7 ต่อ 2 ต่อ 1

นายพุทธิพงษ์ กล่าวว่า ด้านเพจ “อาสา จับตา ออนไลน์” มีประชาชนร่วมแจ้งเบาะแสเว็บ/สื่อสังคมออนไลน์ผิดกฎหมายเข้ามา ตั้งแต่วันที่ 31 ก.ค.-17 ธ.ค. 63 รวมทั้งสิ้น 39,300 เรื่อง หรือเฉลี่ยวันละ 280 เรื่อง โดยหลังจากตรวจสอบข้อมูล มีการเก็บหลักฐานนำส่งให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้องตวจสอบและดำเนินการ 16,048 เรื่อง คิดเป็น 41% ส่วนอีก 23,222 เรื่อง หรือ 59% การตรวจสอบเบื้องต้นไม่พบยูอาร์แอล/หลักฐาน โดยสาเหตุส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะมีการลบโพสต์หรือยูอาร์แอลนั้นไปก่อนแล้วเนื่องจากเกรงกลัวการบังคับใช้กฎหมาย

สำหรับการแจ้งเตือนแพลตฟอร์มต่างๆ ตามมาตรา 27 แห่ง พรบ.คอมพิวเตอร์ฯ ได้ดำเนินการไปแล้วทั้งสิ้น 7 ครั้ง จำนวน 8,443 ยูอาร์แอล แบ่งเป็น เฟซบุ๊ก 5,494 ยูอาร์แอล โดยปิดกั้นแล้ว 3,107 ยูอาร์แอล, ยูทูบ 1,755 ยูอาร์แอล ปิดกั้นแล้ว 1,722 ยูอาร์แอล, ทวิตเตอร์ 674 ยูอาร์แอล ปิดกั้นแล้ว 63 ยูอาร์แอล และอื่นๆ จำนวน 520 ยูอาร์แอล ปิดกั้นแล้ว 133 ยูอาร์แอลสล็อตแตกง่าย